วันอาทิตย์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2560

ระบบการศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกา

ระบบการศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกา การศึกษาในสหรัฐอเมริกาแตละมลรัฐจะควบคุมคุณภาพการเรียนการสอน และ วางแผนการศึกษาของตนเองโดยไมขึ้นกับรัฐบาลกลาง ทุกมลรัฐจะมีหนวยงานการศึกษา คลายกระทรวงศึกษาธิการ คอยกําหนดมาตรฐานตาง ๆ แนะนําเงินงบประมาณอุดหนุน ใหโรงเรียน วิทยาลัย และมหาวิทยาลัยจากเงินภาษีที่เก็บไดจากประชาชน และสมาคม ตาง ๆ ในแตละมลรัฐ สําหรับการศึกษาภาคบังคับ นักเรียนอเมริกันทุกคนจะเรียนฟรีไมวา จะอยูที่รัฐใด จนจบชั้นนมัธยมศึกษา หรือ Grade 12
สําหรับนักเรียนจากประเทศอื่นที่ ตองการเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาสหรัฐอเมริกา จะสมัครเขาเรียนไดใน โรงเรียนเอกชนเทานั้น เพราะสหรัฐอเมริกาจะไมออกวีซาใหนักเรียนตางชาติที่ได 1-20 จากโรงเรียน ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา จากโรงเรียนของรัฐท ี่ เรียกวา Public School การเรียนในระดับมหาวิทยาลัยจะมีขอแตกตาง กลาวคือถานักเรียนที่มีถิ่นฐานใน มลรัฐหนึ่งจะขามมาศึกษาตอในระดับมหาวิทยาลัยในอีกมลรัฐหนึ่ง จะตองเสียคาเลาเรียน แพงขึ้น ที่เรียกวา Out of States Tuition และถานักศึกษามาจากประเทศอื่ นจะตองเสียคา เลาเรียนมากกวาข ึ้นไปอีก ระดับการศึกษาของสหรัฐอเมริกามีหลายแบบแตที่นิยมคือ แบบ 6 – 3 – 3 และ 6 – 6 และพยายามจะใชแบบเดียวกันท ั่วประเทศคือ แบบ 6 –3 – 3 หรือ 6 – 2 – 4


  • ระดับอนุบาล (Kindergarten / Preschool Education) ชีวิตการเรียนของเด็กอเมริกัน เร ิ่ มตนดวยโรงเรียนเตรียมอนุบาล หรือโรงเรียน อนุบาลต ั้ งแตอายุประมาณ 3 ขวบ ระดับประถมศึกษา
  • (Elementary Schools) เด็กอเมริกันจะเขาเร ิ่ มเรียนอยางจริงจังเม ื่ ออายุ 6 ขวบบริบูรณคือเขาเรียนในชั้น Grade 1 ซึ่งบานเราก็นับวาเปน ประถมศึกษาปที่ 1 ระบบการศึกษาของสหรัฐอเมริกา จะ 182 ระดับมัธยมศึกษา 
  • (Junior High Schools / High Schools) ชวงท ี่ 2 คือ Grade 7 และ Grade 8 หรือระดับมัธยมตน (Junior High Schools) และชวงท ี่ 3 คือ Grade 9 ถึง Grade 12 เปนระดับมัธยมปลาย (Senior High Schools) โดยทั่วไปสําหรับเด็กท ี่ เขาเร ิ่ มเรียนตามปกติและเรียนตอเน ื่องไปโดยไมขาดตอน จะสําเร็จ การศึกษา Grade 12 เม ื่ ออายุประมาณ 18 ปซึ่งนับวาสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมปลาย นักเรียนในระดับนี้ตองเรียนวิชาพ ื้ นฐาน คือ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตรวิทยาศาสตร สังคมศึกษา และอาจตองเรียนภาษาตางประเทศหรือพลศึกษาดวย นักศึกษาตางชาติที่ เขาไปเรียนตอในระดับมัธยมศึกษาในสหรัฐอเมริกามีจํานวนไมมากนัก และสวนใหญจะ เขาเรียนในโรงเรียนประจําของเอกชน หรือ Boarding School เน ื่องจากโรงเรียนรัฐบาล สวนใหญไมสามารถจัดหาหอพักใหไดโดยทั่วไปนักเรียนไทยสวนใหญที่ไปเรียนตอใน ระดับนี้มักสําเร็จการศึกษาช ั้ นมัธยมศึกษาปที่ 3 แลว และไปเขาเรียนตอ Grade 10 ใน สหรัฐอเมริกา 
  • ระดับอุดมศึกษา (Higher Education) สถาบันระดับอุดมศึกษาในสหรัฐอเมริกามีมากมายกวา 3,000 แหง ทั้งของมลรัฐ และเอกชน โดยสถาบันในระดับอุดมศึกษา จะแยกออกเปน 4 ประเภท ดังน ี้ 1. วิทยาลัยแบบ 2 ปหรือวิทยาลัยชุมชน 
  • (Junior Colleges และ Community Colleges) นักศึกษาท ี่ เรียนในวิทยาลัย Junior และ Community Colleges สามารถเลือกเรียนไดใน 2 หลักสูตร คือ 1.1 Transfer Track เปนหลักสูตรท ี่เปนวิชาพ ื้ นฐาน 2 ปแรกของการศึกษา ระดับปริญญาตรีโดยนักศึกษาจะลงเรียนรายวิชาบังคับ (General Education Requirements) เปนเวลา 2 ปจากน ั้ นนักศึกษาสามารถโอนหนวยกิต (Transfer) ไป มหาวิทยาลัยท ั้ งของมลรัฐและเอกชนเพ ื่ อศึกษาตอในระดับป 3 โดยที่ เกรดเฉล ี่ ยท ี่ นักศึกษาทําไดในระหวาง 2 ปนี้จะเปนตัวกําหนดวานักศึกษาจะไดรับการตอบรับเขา มหาวิทยาลัยท ี่ อยูในอันดับยากงายเพียงใด 1.2 Terminal / Vocational Track เปนหลักสูตรอนุปริญญาสายวิชาชีพ หลังจาก 2 ปแลวนักศึกษาจะไดรับวุฒิอนุปริญญา (Associate Degree) ทางสาขาวิชาท ี่ เลือก อาทิเชน คอมพิวเตอร เลขานุการ เขียนแบบ เปนตน 2. วิทยาลัย (Colleges) เปนสถาบันระดับอุดมศึกษาหลักสูตร 4 ปเปดสอนใน สาขา วิชาตาง ๆ วิทยาลัยหลายแหงเปดสอนถึงระดับปริญญาโท วุฒิบัตรระดับปริญญา 183 3. มหาวิทยาลัย (University) เปนสถาบันระดับอุดมศึกษาท ี่เปดสอนระดับ ปริญญาตรีขึ้นไป มหาวิทยาลัยสวนใหญจะเปดสอนจนถึงระดับปริญญาโทและปริญญา เอกในสาขาตาง ๆ 4. สถาบันเทคโนโลยี (Institute of Technology) เปนสถาบันท ี่เปดสอนต ั้ งแต ระดับปริญญาตรีและอาจเปดสอนจนถึงระดับปริญญาโทและปริญญาเอก สถาบัน เทคโนโลยีสวนใหญจะมุงเนน ที่การสอนในสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เง ื่อนไขการรับเขาเรียน มัธยมศึกษา นักเรียนจากตางประเทศสามารถศึกษาตอในระดับมัธยมในโรงเรียนของเอกชน เทานั้น ไมสามารถเขาเรียนในสถาบันของรัฐบาลได เง ื่อนไขอื่น ๆ เชนเกรดเฉล ี่ ยและ คะแนน TOEFL แตกตางออกไปตามสถาบัน วิทยาลัย วิทยาลัยสวนใหญตองการนักศึกษาที่มีเกรดเฉลี่ย 2.0 ขึ้นไป และคะแนน TOEFL 480 – 500 ขึ้นไป มหาวิทยาลัย สําหรับปริญญาตรี สถาบันสวนใหญตองการนักศึกษาที่มีเกรดเฉลี่ย 2.5 ขึ้นไป และคะแนน TOEFL 500 ขึ้นไป มหาวิทยาลัย สําหรับปริญญาโทและเอก เกรดเฉลี่ย 3.0 ขึ้นไป และคะแนน TOEFL ไมต่ํากวา 500 นักศึกษาท ี่ จะสมัคร ในโปรแกรม MBA สวนใหญจะตองใชคะแนน GMAT ซึ่งจะนํามาคํานวณกับเกรดเฉลี่ย ปริญญาตรีสวนนักศึกษาท ี่ สมัครปริญญาโทและปริญญาเอกในสาขาอื่น ๆ สวนใหญ จะตองสอบ GRE (Graduate Record Examination) 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น